

Inductive vs Deductive
โดยทั่วไปแล้วรูปแบบของการทำวิจัยนั้นจะถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลักๆ คือ การทำวิจัยแบบนิรนัย (Deductive Approach) และ การทำวิจัยแบบอุปนัย (Inductive Approach) โดย Deductive Approach จะเป็นรูปแบบการทำวิจัยที่ตั้งต้นจากทฤษฏีหรือข้อมูลที่มีอยู่ จากนั้นทำการกำหนดสมมุติฐาน ทดสอบ และยืนยันสมมุติฐาน จะเห็นได้ว่ารูปแบบการวิจัยนี้เป็นการเริ่มต้นจากหลักการ ทฤษฎี หรือข้อมูลที่มีอยู่ในภาพกว้างก่อนที่จะจำกัดให้ค่อยๆแคบลงไปสู่เรื่องที่ทำการศึกษา โดยส่วนมากผลที่ได้จะออกมาในเชิงปริมาณ (Quantitative) ซึ่งจะตรงข้ามกับ Inductive Approach ที่เริ่มจากข้อมูลที่ต้องการทำวิจัยเป็นหัวข้อที่แคบและชัดเจน ก่อนที่จะค่อยๆกว้างขึ้นโดยการหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องในมุมมองที่กว้าง ก่อนที่จะทำการวางรูปแบบข้อมูลที่ได้ ด้วยการกำหนดสมมุติฐานที่เป็นไปได้ และนำไปสู่แนวคิดหรือทฤษฎีในขั้นตอนสุดท้าย โดยส่วนมากการทำวิจัยแบบ Inductive Approach มักจะออกมาในเชิงคุณภาพ (Qualitative)
บทความทั้งหมด
- การใช้ ChatGPT และ AI อื่นๆ ในการช่วยทำ “Dissertation” สิ่งที่ควรและไม่ควรทำ
- เขียน dissertation ป.เอก/โท/ตรี จะไม่ใช่เรื่องยากสำหรับนักศึกษา อาจารย์และคน รับทำ dissertation
- บริการปรึกษา Dissertation ออนไลน์: ตัวช่วยสำคัญสำหรับนักศึกษาปริญญาโทและเอกยุคใหม่
- เครื่องมือและทรัพยากร (Tools and Resources) ที่มีประโยชน์สำหรับการเขียนวิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษ : เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
- การเขียน Literature Review ภาษาอังกฤษอย่างมืออาชีพ
- โครงสร้างวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก ฉบับภาษาอังกฤษ : ขั้นตอนและองค์ประกอบสำคัญ
- การกำหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก ฉบับภาษาอังกฤษ : เลือกหัวข้อที่ใช่ ตอบโจทย์งานวิจัย
- Inductive vs Deductive
- Introduction คืออะไร
- Literature Review คืออะไร
- Methodology คืออะไร
- Results หรือ Findings คืออะไร
- Discussion คืออะไร
- Conclusion คืออะไร
- โครงสร้างของ Dissertation
- OneDisser จัดทำเป็นพิเศษ